ถ้า ผู้ว่าจ้าง หักภาษี ณ. ที่จ่าย ไว้ แล้วไม่ได้ ให้เอกสาร จะถือว่ามีความผิดทางกฏหมาย หรือไม่ ?ถ้าผู้รับจ้าง ขอ copy ใหม่แล้วผู้ว่าจ้างไม่ออกให้ จะถือว่ามีความผิดทางกฏหมาย หรือไม่ ? ตอบ กรณีผู้จ่ายเงินได้ ไม่ปฎิบัติหน้าที่ต่างๆ เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะแสดงได้ว่ามีเหตุสุดวิสัย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท (ม. 35)
---- ไม่ยื่นแบบแสดงรายการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
---- ไม่จัดทำบัญชีพิเศษแสดงการจ่ายเงินได้และการนำส่งภาษีตาม มาตรา 17 ซึ่งกรมสรรพากรกำหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 1,000 บาท
---- ไม่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 ทวิ ซึ่งกรมสรรพากรกำหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 500 บาท
ที่มา :
http://www.banbunchee.comถ้าเอกสาร หักภาษี ณ. ที่จ่าย ของผู้ว่าจ้างไม่ตรงกับ คนรับจ้าง จะมีปัญหาอะไร ตามมาบ้าง ?ต้องถามกลับก่อนว่า เอกสารไม่ตรงนี้ไม่ตรงในส่วนของข้อมูลในหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย หรือว่าเอกสารไม่ตรงในกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำเอกสารสูญหาย ตอบ จริง ๆ แล้วในกรณีที่ข้อมูลในเอกสารไม่ตรงกัน นี้ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เนื่องจาก เวลาผู้ว่าจ้างออกหนังสือรับรอง หัก ณ ที่จ่ายให้กับผู้รับจ้าง ซึ่งผู้ว่าจ้างจะทำการออกหนังสือ รับรอง หัก ณ ที่จ่าย จำนวน 3 ฉบับ
ฉบับที่ 1 มีข้อความว่า “ สำหรับผู้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ใช้แนบพร้อมกับแบบแสดงรายการ”
ฉบับที่ 2 มีข้อความว่า สำหรับผู้ถูกหัก ณ ที่จ่ายเก็บไว้เป็นหลักฐาน
และให้ออกสำเนาคู่ฉบับ (สำหรับผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายเก็บไว้เป็นหลักฐาน) คือ ฉบับที่ 3 นอกเหนือจาก ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ไว้ด้วย เพื่อใช้เป็นหลักฐานกรณีที่ได้ออกหนังสือรับรองหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้แก่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย แล้ว แต่ชำรุด สูญหายให้ผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย ออกใบแทนหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายได้
การออกใบแทน ให้ใช้วิธี ถ่ายเอกสารสำเนาคู่ฉบับหนังสือรับรองการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย และให้มีข้อความ คำว่า “ใบแทน” ไว้ด้านบนของเอกสารซึ่งผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องลงลายมือชื่อรับรองด้วย
ที่มา :
http://www.rd.go.thถ้าเอกสาร หักภาษี ณ. ที่จ่าย ของผู้ว่าจ้างไม่ตรงกับ คนรับจ้าง จะมีปัญหาอะไร ตามมาบ้าง ?ตอบแต่ถ้าอาจจะเกิดขึ้นในกรณี ที่ ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ทำเอกสารสูญหาย หรือ ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายทำเอกสารสูญหาย ซึ่งจะทำให้ข้อมูลไม่ตรงกัน ในกรณีนี้ต้องยึดถือเอกสารที่ถูกต้องเป็นหลัก
[b]ถ้า ผู้ว่าจ้าง หักภาษี ณ. ที่จ่าย ไว้ แล้วไม่ได้ ให้เอกสาร จะถือว่ามีความผิดทางกฏหมาย หรือไม่ ?[/b]
[b]ถ้าผู้รับจ้าง ขอ copy ใหม่แล้วผู้ว่าจ้างไม่ออกให้ จะถือว่ามีความผิดทางกฏหมาย หรือไม่ ?[/b]
[u]ตอบ[/u] กรณีผู้จ่ายเงินได้ ไม่ปฎิบัติหน้าที่ต่างๆ เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะแสดงได้ว่ามีเหตุสุดวิสัย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท (ม. 35)
---- ไม่ยื่นแบบแสดงรายการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
---- ไม่จัดทำบัญชีพิเศษแสดงการจ่ายเงินได้และการนำส่งภาษีตาม มาตรา 17 ซึ่งกรมสรรพากรกำหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 1,000 บาท
---- ไม่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 ทวิ ซึ่งกรมสรรพากรกำหนดอัตราที่ควรเปรียบเทียบปรับกระทงละ 500 บาท
ที่มา : http://www.banbunchee.com
[b]ถ้าเอกสาร หักภาษี ณ. ที่จ่าย ของผู้ว่าจ้างไม่ตรงกับ คนรับจ้าง จะมีปัญหาอะไร ตามมาบ้าง ?[/b]
[i]ต้องถามกลับก่อนว่า เอกสารไม่ตรงนี้ไม่ตรงในส่วนของข้อมูลในหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย หรือว่าเอกสารไม่ตรงในกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำเอกสารสูญหาย [/i]
[u]ตอบ[/u] จริง ๆ แล้วในกรณีที่ข้อมูลในเอกสารไม่ตรงกัน นี้ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เนื่องจาก เวลาผู้ว่าจ้างออกหนังสือรับรอง หัก ณ ที่จ่ายให้กับผู้รับจ้าง ซึ่งผู้ว่าจ้างจะทำการออกหนังสือ รับรอง หัก ณ ที่จ่าย จำนวน 3 ฉบับ
ฉบับที่ 1 มีข้อความว่า “ สำหรับผู้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ใช้แนบพร้อมกับแบบแสดงรายการ”
ฉบับที่ 2 มีข้อความว่า สำหรับผู้ถูกหัก ณ ที่จ่ายเก็บไว้เป็นหลักฐาน
และให้ออกสำเนาคู่ฉบับ (สำหรับผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายเก็บไว้เป็นหลักฐาน) คือ ฉบับที่ 3 นอกเหนือจาก ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ไว้ด้วย เพื่อใช้เป็นหลักฐานกรณีที่ได้ออกหนังสือรับรองหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้แก่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย แล้ว แต่ชำรุด สูญหายให้ผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย ออกใบแทนหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายได้
การออกใบแทน ให้ใช้วิธี ถ่ายเอกสารสำเนาคู่ฉบับหนังสือรับรองการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย และให้มีข้อความ คำว่า “ใบแทน” ไว้ด้านบนของเอกสารซึ่งผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องลงลายมือชื่อรับรองด้วย
ที่มา : http://www.rd.go.th
[b]ถ้าเอกสาร หักภาษี ณ. ที่จ่าย ของผู้ว่าจ้างไม่ตรงกับ คนรับจ้าง จะมีปัญหาอะไร ตามมาบ้าง ?[/b]
[u]ตอบ[/u]แต่ถ้าอาจจะเกิดขึ้นในกรณี ที่ ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ทำเอกสารสูญหาย หรือ ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายทำเอกสารสูญหาย ซึ่งจะทำให้ข้อมูลไม่ตรงกัน ในกรณีนี้ต้องยึดถือเอกสารที่ถูกต้องเป็นหลัก